ThaoKea
เถ้าแก่.คอม
ให้บริการ ด้านการจัดตั้งธุรกิจ รับจดทะเบียนบริษัท ทุกประเภท ทั่วไทย รับเป็นที่ปรึกษาด้านบัญชี ภาษี ตรวจสอบภายใน เขียนแผนธุรกิจ การตลาด สื่อโฆษณา การเงิน แรงงาน กฎหมาย ด้วยทีมงานที่มีประสบการณ์พร้อมด้วยบริการอย่างมีประสิทธิภาพ ราคาเป็นธรรมและซื่อสัตย์ตรงไปตรงมา
สมัครขอยื่นภาษีมูลค่าเพิ่มทางอินเตอร์เ็น็ต
- ติดป้ายชื่อสถานประกอบการ ณ ที่ที่เห็นได้ชัดเจน
- ตรวจสอบการอนุมัติให้เป็นผู้ประกอบการโดยทางอีเมลล์(Email) ตามที่ระบุไว้ใน ภพ.01 ข้อ 5
- เมื่อได้รับการอนุมัติให้เป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมู,ค่าเพิ่มแล้ว จะมีสิทธิและหน้าที่เป็นผู้ประกอบการภายในวันที่ประสงค์จะเป็นผู้ประกอบการตามข้อ 3จึงจะสามารถใช้ใบกำกับภาษีต่างๆได้
- สท.21 จะมีจดหมายแจ้งให้มารับใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.20) ภายใน 1 เดือนและต้องติดใบทะเบียน (ภพ.20) ในที่ที่มองเห็นได้ชัดเจน
- เมื่อผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว มีรายการยื่นแบบภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) ครั้งแรก ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดจากวันที่ประสงค์จะเป็นผู้ประกอบการตามข้อ 3 และภายในวันที่ 15 ของทุกๆเดือน
- ขั้นตอนการยื่นแบบแสดงรายการภาษีทุกประเภทผ่านทางอินเทอร์เน็ต www.rd.go.th
ประโยชน์ที่ได้รับจากการใช้บริการแบบและชำระภาษี ผ่านอินเทอร์เน็ต
- เป็นการให้บริการยื่นแบบและชำระภาษี ผ่านอินเทอร์เน็ต โดยให้ผู้เสียภาษีเป็นผู้ป้อนข้อมูลที่จะต้องกรอกในแบบแสดงรายการที่ได้รับอนุญาตให้ยื่นผ่านทางอินเทอร์เน็ต แทนการกรอกแบบและยื่นฯด้วยกระดาษ พร้อมชำระภาษีโดยใช้คำสั่งทางอิเล็กทรอนิกส์ ให้ธนาคารโอนเงินค่าภาษีให้กรมสรรพากร (กรณียื่นแบบฯ ภพ.30 โดยไม่มีภาษีตามแบบฯหรือขอคืนภาษีไว้ก็ใช้บริการนี้ได้)
- เป็นทางเลือกใหม่อีกทางหนึ่งที่ไม่บังคับ แต่ช่วยใหู้ผู้เสียภาษีที่สนใจเลือกใช้บริการเพื่อความสะดวกมากยิ่งขึ้น ในขณะที่การยื่นแบบฯและชำระภาษที่สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขา ยังคงมีอยู่ตามปกติ
- ผู้เสียภาษีทุกรายมีสิทธิขอใช้บริการยื่นแบบและชำระภาษีผ่านอินเทอร์เน็ตที่กรมสรรพากรเปิดให้ิบริการ เว้นแต่ การยื่นแบบและชำระภาษีมูลค่าเพิ่มหรือภาษีธุรกิจเฉพาะผ่านอินเทอร์เน็ต จะต้องเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มหรือเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะแล้ว เท่านั้น
- จะต้องทำความตกลงกับกรมสรรพากรก่อน โดยลงนามในเอกสารข้อตกลงในการยื่นแบบแสดงรายการ และชำระภาษีผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและเมื่อได้รับหมายเลขผู้ใช้ (User ID) และรหัสผ่าน (Password) จากกรมสรรพากรแล้วจึงจะสามารถเข้าสู่ระบบการยื่นแบบฯ และชำระภาษีผ่านอินเทอร์เน็ตได้
- จะต้องทำความตกลงกับธนาคารที่เข้าร่วมโครงการฯ เพื่อชำระภาษีโดยการโอนเงินผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Payment)
- กรมสรรพากรมิได้คิดค่าใช้จ่ายใดๆในการสมัครหรือขอใช้บริการในแต่ละครั้ง
- ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปยื่นแบบฯและชำระภาษี ณ สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขา
- ได้รับสิทธิพิเศษในการยื่นแบบฯ หลังเวลา 16.30 น. จนถึงเวลา 22.00 น. ของทุกวันระกว่างช่วงกำหนดเวลาของการยื่นแบบฯตามปกติ โดยไม่เว้นวันหยุดราชการ
- มีโปรแกรมที่จะช่วยตรวจสอบข้อมูลขั้นต้นตามแบบแสดงรายารที่กรอกไว้ในแบบและหากพบข้อมูลที่ผิดพลาดบางกรณี ระบบจะส่งรายการเตือนกลับไปในทันที เพื่อจะได้แก้ไขให้ถูกต้องและเพื่อความมั่นใจว่ากรมสรรพากรได้รับแบบฯและชำระภาษีเรียบร้อยแล้วจะมีหลักฐานเพื่อยืนยัน 3 ระดับดังนี้
- ยืนยันตอบรับทันทีเมื่อทำรายการเสร็จแล้ว
- ยืนยันการรับแบบฯ และรับชำระภาษี (ถ้ามี) ทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Email) ในวันถัดไป
- ยืนยันการรับแบบฯ และรับชำระภาษี (ถ้ามี) โดยใบเสร็จรับเงิน ที่ผู้ให้บริการสามารถเข้าสู่ระบบ โดยใช้หมายเลขและรหัสผ่านที่ท่านใช้ในการยื่นแบบฯ เพื่อพิมพ์ใบเสร็จรับเงินได้ภายใน 2 วันทำการ ถัดจากวันที่ท่านได้ยื่นแบบฯและชำระภาษีเสร็จสมบูรณ์
ประมูลงาน ยื่นซองเสนอราคา เสนองานบริษัท...ต้องรีบจดทะเบียนนิติบุคคล
คำถามแบบนี้..............จะถูกอธิบายอย่างละเอียดและถูกต้อง
ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด ร้านค้า ต่างกันอย่างไร ? จดทะเบียนบริษัทที่ไหน ? จดบริษัทจะต้องใช้เอกสารอะไรบ้าง ? จดบริษัทต้องใช้ผู้ก่อตั้งกี่คน ? จดบริษัทต้องมีทุนจดทะเบียนเท่าไหร่ ? ถ้าไม่มีเงินทุนจดทะเบียนจริง จะทำได้หรือไม่? จดบริษัทสถานที่เช่า จะใช้ได้หรือไม่ ? ต้องใช้เงินเท่าไหร่ในการจดบริษัท ?บริษัทกับหจก.อย่างไหนดีกว่า ? บริษัทกับห้างหุ้นส่วนต่างกันอย่างไร ? บริษัทจะต้องทำบัญชีหรือไม่ ? บริษัทจะเสียภาษีอย่างไร ? ค่าใช้จ่ายในการปิดงบการเงินเท่าไหร่ ? ภาษีมูลค่าเพิ่มคืออะไร ? บริษัทต้องเสียภาษีอะไรบ้าง ? บริษัทจดคนเดียวได้ไหม ? บริษัทสามารถใส่วัตถุประสงค์ได้กี่ข้อ? จะรับงานราชการต้องจดทะเบียนแบบไหน ? บริษัทจะต้องขึ้นประกันสังคมหรือไม่ ?ต้องมีลูกจ้างกี่คนถึงจะขึ้นประกันสังคม ? จะเริ่มทำบัญชียังไง? ลูกค้าให้จดเป็นนิติบุคคล จะจดแบบไหนดี? มีชาวต่างชาติถือหุ้นด้วยจะจดบริษัทได้ไหม? การตั้งชื่อบริษัทควรจะตั้งอย่างไร? ถ้าเปิดบริษัทแต่ยังไม่มีรายได้ต้องเสียค่าทำบัญชีไหม ต้องปิดงบการเงินหรือไม่ ? ถ้ามีชื่อในบริษัทอื่นแล้ว จะตั้งบริษัทใหม่ได้ไหม ? ทำบิล ทำใบกำกับภาษี ไม่เป็น จะทำยังไง? กรรมการบริษัท คืออะไร มีหน้าที่อย่างไร? ผู้ถือหุ้น คืออะไร มีหน้าที่อย่างไร ? จะเปิดบัญชีกับธนาคาร ในนามบริษัทต้องทำอย่างไร ? ที่ตั้งบริษัท ใช้บ้านที่ต่างจังหวัดได้หรือไม่ ?
จดทะเบียนบริษัทภาคกลาง
จดทะเบียนบริษัทนครสวรรค์
จดทะเบียนบริษัทอุทัยธานี
จดทะเบียนบริษัทอ่างทอง
จดทะเบียนบริษัทสระบุรี
จดทะเบียนบริษัทสุพรรณบุรี
จดทะเบียนบริษัทสุโขทัย
จดทะเบียนบริษัทสิงห์บุรี
จดทะเบียนบริษัทสมุทรสาคร
จดทะเบียนบริษัทสมุทรสงคราม
จดทะเบียนบริษัทสมุทรปราการ
จดทะเบียนบริษัทลพบุรี
จดทะเบียนบริษัทเพชรบูรณ์
จดทะเบียนบริษัทพิษณุโลก
จดทะเบียนบริษัทพิจิตร
จดทะเบียนบริษัทพระนครศรีอยุธยา
จดทะเบียนบริษัทปทุมธานี
จดทะเบียนบริษัทนนทบุรี
จดทะเบียนบริษัทนครปฐม
จดทะเบียนบริษัทนครนายก
จดทะเบียนบริษัทชัยนาท
จดทะเบียนบริษัทกำแพงเพชร
จดทะเบียนบริษัทภาคใต้
จดทะเบียนบริษัทยะลา
จดทะเบียนบริษัทสุราษฎร์ธานี
จดทะเบียนบริษัทสงขลา
จดทะเบียนบริษัทสตูล
จดทะเบียนบริษัทระนอง
จดทะเบียนบริษัทภูเก็ต
จดทะเบียนบริษัทพัทลุง
จดทะเบียนบริษัทพังงา
จดทะเบียนบริษัทปัตตานี
จดทะเบียนบริษัทนราธิวาส
จดทะเบียนบริษัทนครศรีธรรมราช
จดทะเบียนบริษัทตรัง
จดทะเบียนบริษัทชุมพร
จดทะเบียนบริษัทกระบี่
จดทะเบียนบริษัทภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
จดทะเบียนบริษัทอำนาจเจริญ
จดทะเบียนบริษัทอุบลราชธานี
จดทะเบียนบริษัทหนองบัวลำภู
จดทะเบียนบริษัทหนองคาย
จดทะเบียนบริษัทศรีสะเกษ
จดทะเบียนบริษัทสุรินทร์
จดทะเบียนบริษัทสกลนคร
จดทะเบียนบริษัทเลย
จดทะเบียนบริษัทร้อยเอ็ด
จดทะเบียนบริษัทยโสธร
จดทะเบียนบริษัทมุกดาหาร
จดทะเบียนบริษัทมหาสารคาม
จดทะเบียนบริษัทบุรีรัมย์
จดทะเบียนบริษัทบึงกาฬ
จดทะเบียนบริษัทนครราชสีมา-จดทะเบียนบริษัทโคราช
จดทะเบียนบริษัทนครพนม
จดทะเบียนบริษัทชัยภูมิ
จดทะเบียนบริษัทขอนแก่น
จดทะเบียนบริษัทกาฬสินธุ์
จดทะเบียนบริษัทอุดรธานี